Skip to:

ประวัติส่วนตัว

การศึกษา 

  • 2546-2552    ปร.ด. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  •                     Thesis adviser: ศ.ดร.ชูกิจ ลิมปิจำนงค์
  • 2542-2546    วท.บ. (ฟิสิกส์) เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประสบการณ์การทำงาน

  • ธ.ค.62 - ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ในสาขาฟิสิกส์ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
  • พ.ค.57 - ธ.ค.62 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ในสาขาฟิสิกส์ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
  • พ.ค.55-พ.ค.57 อาจารย์ประจำภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
     
  • พ.ย.53-เม.ย.55  นักวิจัยหลังปริญญาเอก (Postdoctoral researcher) ในกลุ่มวิจัย Environmental Remediation Materials Unit ณ National Institute for Materials Science (NIMS), เมือง Tsukuba ประเทศญี่ปุ่น
  • พ.ย.52-ต.ค.53   นักวิจัยหลังปริญญาเอก (Postdoctoral researcher) ในกลุ่มวิจัย Multi-scale modeling ณ Asia Pacific Center for Theoretical Physics (APCTP) และ guest researcher ในกลุ่มวิจัย Computational Nano Physics Lab ณ Department of Physics, Pohang University of Science and Technology (POSTECH), เมือง Pohang ประเทศเกาหลีใต้
  • ก.ย.49-มิ.ย.50   ผู้ช่วยวิจัยในกลุ่มวิจัย Computational Materials Group (supervised by Prof. Chris Van de Walle and Dr. Anderson Janotti) University of California Santa Barbara (UCSB), แคลิฟอเนียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา

งานวิจัยที่สนใจในปัจจุบัน

  • สมบัติทางไฟฟ้าของความบกพร่องแบบพื้นฐานและสิ่งเจือในสารกึ่งตัวนำประเภท III-V (เช่น GaN, AlN), II-VI (เช่น ZnO, MgO) และ perovskite oxides เช่น SrTiO3
  • สมบัติทางไฟฟ้าและโครงสร้างของอิเล็คตรอนและการก่อตัวของความบกพร่องแบบซับซ้อนในสารกึ่งตัวนำแถบช่องว่างพลังงานกว้างและสารโปร่งแสงที่นำไฟฟ้าได้ (transparent conducting oxides) เช่น In2O3
  • ไฮโดรเจนและโมเลกุลแบบคู่ที่มีผลต่อคุณสมบัติทางไฟฟ้าในสารกึ่งตัวนำต่างๆ เช่น CN, N2 ใน GaAs
  • ความบกพร่องแบบพื้นฐานและแบบซับซ้อนในอัลลอยของสารกึ่งตัวนำที่เป็นออกไซด์และไนไตรด์ เช่น GaAsN
  • การพัฒนาและออกแบบเชิงทฤษฎีของวัสดุที่ใช้ในการกักเก็บไฮโดรเจน เช่นสารที่มีไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบเช่น NaAl(OH)4 และโครงสร้างนาโนที่มีศักยภาพในการยึดเหนี่ยวไฮโดรเจนเช่นกราฟีน
  • การพัฒนาและออกแบบเชิงทฤษฎีของสารที่มีคุณสมบัติในการเร่งปฏิกริยาโดยแสง (photocatalyst) เช่น TiO2, SrTiO3 โดยเน้นไปที่การเจือด้วย impurity แบบเดี่ยวหรือแบบคู่ควบเพื่อทำให้คุณสมบัติในการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ของ photocatalyst ดีขึ้น
  • ผลของการกักตัวเอง (self-trapping) และอันตรกิริยากับความบกพร่องมูลฐาน ของตัวนำพาหะในโลหะออกไซด์

ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ (พร้อมจำนวนการอ้างอิง)

http://www.researcherid.com/rid/B-3879-2012

รางวัลและทุนที่เคยได้รับ

  • 2547-2552 ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.)
  • 2542-2546 ทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.)
  • 2555-2556  ทุน Preproposal Research Fund (PRF) จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 2557, 2559-61   ทุนอุดหนุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 2557-2559   ทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับบัณฑิต พสวท. แรกบรรจุ
  • 2557-2558 ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • 2562-2564 ทุนพัฒนานักวิจัยรุ่นกลาง กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

งานสอน

  • 01420111  ฟิสิกส์ทั่วไป I (General Physics I)
  • 01420113  ปฏิบัติการฟิสิกส์ I (Laboratory in Physics I)
  • 01420115 ปฏิบัติการฟิสิกส์อย่างสังเขป
  • 01420473 ฟิสิกส์ของของแข็ง I (Physics of Solids I)
  • 01420474 ฟิสิกส์ของของแข็ง II (Physics of Solids II)
  • 01420597  สัมมนาระดับปริญญาโท (Seminar for graduate students)

Ad Hoc Journal Reviewer

Website

Computational Materials Group

Full CV (pdf)